Welcome To


ประวัติ/ที่มาโครงการ




           จจุบันสังคมโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเปลี่ยนผ่าน (Transformation) จากเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม (Industrial Economy) มาสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge Based Economy) ซึ่งให้ ความสําคัญกับทรัพยากรมนุษย์ที่มีทักษะการคิดว่าเป็นทรัพย์สินที่มีค่า แต่ทรัพยากรมนุษย์ที่มีทั้งทักษะการคิด และทักษะการพัฒนาจิตเป็นทรัพย์สินที่มีค่ามากที่สุดหรือมีคุณค่ามากกว่า เพราะท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง และการเปลี่ยนผานดังกลาวเกิดขึ้นในสภาวะผันผวน-ไม่แน่นอน-ซับซ้อน-คลุมเครือ (VUCA Condition) จากปัญหาต่าง ๆ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง รวมทั้งจากวิกฤตการการระบาดของ COVID-19 ที่ กระหนํ่าซํ้าเติมเข้ามา ส่งผลกระทบในทางลบต่อองค์กรต่าง ๆ รวมทั้งโรงเรียนด้วย โดยทําใหครูและบุคลากร ทางการศึกษาเกิดความเครียดและเพิ่มพูนเป็นความเครียดสะสม (Cumulative Stress) วิตกกังวล ซึมเศร้า ลุกลามไปถึงปัญหาความสัมพันธในทีม ปัญหาความสัมพันธกับนักเรียนและผู้ปกครอง หมดกําลังใจในการ ทํางาน (Burn Out) ในที่สุด ก็จะส่งผลถึงคุณภาพงานของโรงเรียน

           สําหรับผลกระทบทางลบต่อนักเรียนเฉพาะที่เกิดจากปัญหาการระบาดของ COVID-19 อย่างเดียวก็ ทําให้เกิด “แผลใหม่” ที่ส่งผลตอคุณภาพนักเรียนในทุกระดับจากมาตรการโรงเรียนในช่วง พ.ศ.2563- 2565 ที่มีการปิดทุกพื้นที่รวม 16 สัปดาห์ และปิดบางพื้นที่รวม 53 สัปดาห์ ทําใหนักเรียนอยูกับหน้าจอ คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือนานเกินไปทั้งกับการเรียน Online และเล่นเกมทําให้ส่งผลตอการทํางานของ สมองที่ต้องทํางานหรือเรียนรู้โดยใช้ภาษาพูด (Verbal) ควบคู่ไปกับภาษาท่าทาง (Non-Verbal) ซึ่งหายไปจาก การเรียน Online นักเรียนขาดพลังในการตั้งใจเรียนและความสามารถในการควบคุมตนเอง (Self Regulation) ลดลง ส่งผลทําให้เกิดความสูญเสียอย่างน้อย 3 ประการ คือ สูญเสียการเรียนรู(Learning Loss)

           สูญเสียพัฒนาการ (Developmental Loss) และสูญเสียทางสังคม (Social Loss) กล่าวคือ การ สูญเสียการเรียนรู้สําหรับนักเรียนระดับปฐมวัย (อายุ 2-7 ป) พลาดช่วงโอกาสทอง (Prime Time) ในการ พัฒนาสมองส่วนหน้า (EF) ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ในระยะยาว ซึ่งหากพิจารณาในแง่เศรษฐศาสตรจาก การศึกษาของกสศ. (กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา)จะสูญเสียความสามารถในการหารายได้ทั้งชีวิต คิดเป็นมูลค่า 850,000 บาท สําหรับนักเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาได้รับผลกระทบทางลบ โดยสรุปเป็นภาพรวม คือ ด้านการเรียนรู้/วิชาการ นักเรียนสูญเสียทักษะ การอ่าน เขียน และคิดคํานวณ ด้าน พัฒนาการ นักเรียนสูญเสียทักษะทางกายและทักษะในการคิด และด้านสังคม นักเรียนสูญเสียทักษะการ สื่อสาร/ปฏิสัมพันธ์ และเกิดความเครียด



           นอกจากนั้นยังมี “แผลเก่า” ที่ส่งผลตอคุณภาพนักเรียนมาอย่างยาวนานที่สรุปไว้โดยโครงการติดตาม สภาวการณ์เด็กและเยาวชน (Child Watch) ซึ่งสรุปพฤติกรรมเป็น 2 กลุ่ม คือ พฤติกรรมที่ “ยิ่งโตยิ่งเพิ่ม” ได้ แก่ พฤติกรรมเที่ยวกลางคืน เล่นโทรศัพท์มือถือ หนีเรียน ยอมรับการมีเพศสัมพันธ์ ดื่มสุรา เสพสารเสพติด เป็นต้น และพฤติกรรมที่ “ยิ่งโตยิ่งลด” ได้แก การไปวัด/ทําบุญ ไปเที่ยวกับพ่อแม่/ผู้ปกครอง เล่นกีฬาและ ช่วยงานบ้าน เป็นต้น สอดคล้องกับที่ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว สรุปแนวโน้มของสถานการณ์เด็ก ไว้ว่า เด็กและเยาวชนถูกผลักเขาสู่โลก Online โดยขาดสมรรถนะที่จําเป็น มีความเครียดและมีปัญหา สุขภาพจิตที่ต้องได้รับความช่วยเหลือมากยิ่งขึ้นกอนที่จะนําไปสู่พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์หรือเหตุการณที่ อันตราย โดยมีข้อมูลจากบริการสายด่วนสุขภาพจิตของกรมสุขภาพจิตระบุว่า ปัญหาที่เด็กและเยาวชนโทรเข้า มาปรึกษามากที่สุด 5 อันดับแรก คือ ความเครียดหรือความวิตกกังวล ปัญหาจิตเวช ปัญหาความรัก ปัญหา ซึมเศร้า และปัญหาครอบครัว

           สภาพการณ์ที่รุมเร้าทั้งบุคลากรครูและนักเรียนตามที่นําเสนอมานั้น จึงทําให้โรงเรียนต้องทําอะไร มากกว่าการ “ตั้งรับ” และ “ปรับตัว” ที่ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพภายในโรงเรียนที่เน้นเพียงการ พัฒนาความรู้และทักษะในการทํางานของบุคลากรครูด้วยเครื่องมือต่าง ๆ เช่น การบริหารโครงการการบริหาร การเปลี่ยนแปลง การประกันคุณภาพภายในการประเมินและรับรองคุณภาพจากหน่วยงานภายนอก และการ สร้างโรงเรียนให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดก็สนองความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น ๆ ในสังคม เสริมสร้างพลังอํานาจของบุคลากรครู และเกิดการเปลี่ยนแปลงในการ ทํางานทําให้โรงเรียนเกิดความสําเร็จได้ในระดับหนึ่ง แต่ก็ยังคงมีอุปสรรคที่สําคัญ คือ ความรู้สึกเป็นภาระที่ เพิ่มขึ้น เหนื่อยล้า กดดัน เป็นต้น แตในที่สุดก็พบว่า การเปลี่ยนแปลงโรงเรียนที่สําคัญนั้น นอกจากระบบ บริหารจัดการด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ขับเคลื่อนคุณภาพแล้ว การศึกษาวิจัยเรื่องเกี่ยวกับองค์กรทุกประเภท มีข้อค้นพบที่สําคัญที่สรุปในบริบทโรงเรียนได้ว่า ถ้าบุคลากรครู รู้สึกถึงคุณค่าในตนเองและมีความสุขในการ ทํางานไม่วา่จะอยูในตําแหน่งหรือมีบทบาทหน้าที่อย่างไรก็จะเป็นหัวใจสําคัญในการเปลี่ยนแปลงและพัฒนา คุณภาพงานของโรงเรียนได้

           ในแผนระบบสื่อและวิถีสุขภาวะทางปัญหามีจุดเน้นข้อ 4 ในการยกระดับสุขภาวะทางปัญญาเพื่อ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพในมิติอื่น มุ่งสร้างพื้นที่แห่งการรับฟัง สงเสริมสังคมที่เกื้อกูล และกระบวนการ เรียนรูดานสุขภาวะทางปญญาบนพื้นฐานชีวิตวิถีใหม หลังวิกฤติโควิด 19 โดยมีเปาหมายทั้งในการปรับเปลี่ยน เชิงพฤติกรรมและวิถีชีวิตแบบกลุมเปาหมาย ซึ่งในโครงการนี้เนนเยาวชน และการเปลี่ยนแปลงเชิงสังคมและ สิ่งแวดลอมที่โครงการนี้เนนโรงเรียนทั้งยังเปนวัตถุประสงคสําคัญขอ 3 ของแผน เพื่อสรางปจจัยแวดลอมที่ เอื้อตอการเรียนรูในการพัฒนาสุขภาวะทางปญญาของกลุมเปาหมายทุกชวงวัยและรวมขับเคลื่อนงานสราง เสริมสุขภาวะดวยวิถีและชองทางพัฒนาสุขภาวะทางปญญา โดยกลยุทธ 4E เนนเครือขายใหมคือโรงเรียนและ มหาวิทยาลัยราชภัฎ ซึ่งเปนหลักในการพัฒนาครูและการเรียนรูของเยาวชน

           สถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ร่วมกับโครงการสติในองค์กรของกรมสุขภาพจิตได้นําจิตวิทยาสติ (Mindfulness Psychology) มาพัฒนาเป็นนวัตกรรมทางเลือกที่โรงเรียนนํามาใชในการพัฒนาควบคูกันไป ระหวางการพัฒนาคน (บุคลากรครู) และการพัฒนาคุณภาพในโรงเรียน โดยมีหลักฐานเชิงประจักษ ในการ ปฏิบัติ (Evidence Based Practices : EBP) ที่อธิบายได้ด้วยหลักจิตวิทยา (Psychology) และศาสตร์ เกี่ยวกับสมอง (Neuroscience) ที่ไม่เกี่ยวข้องกับศาสนา จากการเริ่มใช้ในวงการสุขภาพและสุขภาพจิตจน ขยายไปสู่วงการต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ดังนั้น การนํามาใชในบริบทโรงเรียนจึงเป็นการนําจิตวิทยาสติต่อยอด การศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยจัดการศึกษาที่มีสติเป็นฐาน (Mindfulness Based Education)

           ในจิตวิทยาสติ จะให้หลักคิดที่ว่าจิตพื้นฐาน มีแนวโน้มจะสะสมความคิดลบ จนกลายเป็นอารมณ์และ ความเครียดที่ผานมาแก้ได้ด้วยการปรับปรุงจิตพื้นฐาน ซึ่งเปนจิตวิทยากระแสหลัก แตในปัจจุบันไดมีการ พัฒนาจิตวิทยากระแสใหม่ ซึ่งมุ่งเน้นพัฒนาจิตที่มีคุณภาพด้วยสมาธิและสติ ซึ่งจะเป็นจิตที่สงบ มั่นคง สมดุล ไม่สะสมความคิดลบ แต่จะมีความป่ลอยวาง เมตตาและให้อภัย



           ภายใต้แนวคิดที่สําคัญ คือ เริ่มตนที่สติในตน โดยบุคลากรครูทุกคนคนหาคุณค่าภายในตนเองพัฒนาจิ ตด้วยสมาธิ สติ ที่ทําใหทํางานอยางมีพลังและมีความสุข นําไปสูสติในสัมพันธภาพ/ทีม (ทั้งกับเพื่อนร่วมงาน นักเรียน และผู้ปกครอง) ด้วยบรรยากาศการสร้างสัมพันธภาพในทีมที่เอื้อต่อการทํางานร่วมกันอยางมีมิตร ไมตรีดวยสติสื่อสารและสติคิดบวก ลงท้ายด้วยสติในการขับเคลื่อนงานโรงเรียน โดยใชสติในการประชุมแบบ กัลยาณมิตรสนทนา (Dialogue) เพื่อเรียนรู้งาน และแบบอภิปรายอย่างสร้างสรรค (Creative Discussion) เพื่อแก้ปัญหางาน โดยเฉพาะในการประชุม PLC (Professional learning community) ซึ่งทั้ง 3 องค์ประกอบ คือ สติในตน สติในสัมพันธภาพ/ทีม และสติในการขับเคลื่อนงานโรงเรียน ต่างก็มีความสัมพันธ คํ้าจุนซึ่งกันและกัน หากขาดองค์ประกอบใดไปก็ยากที่จะสร้างวัฒนธรรมในโรงเรียนได้ ดังนั้นในการจัด การศึกษาที่มีสติเปนฐานจะต้องมีครบทั้ง 3 องค์ประกอบตามแผนภาพ

           การทําให 3 องค์ประกอบเกิดขึ้นไดในโรงเรียน ทําไดโดยใชเครื่องมือการฝึกอบรมเปนจุดเริ่มตน (Entry Point) เพื่อใหเกิดการเรียนรูและการปฏิบัติตามลําดับขั้น คือ ขั้นที่ 1 เตรียมการและปรับเปลี่ยน กระบวนทัศนดาน การพัฒนาจิตแกทีมนํา ขั้นที่ 2 ใหบุคลากรครูเรียนรูนําไปใชในการทํางานและการประชุม ตลอดจนใชในชีวิตประจําวัน ขั้นที่ 3 นําไปใชพัฒนานักเรียนและผูปกครอง และขั้นที่ 4 โรงเรียนรวมกับผู ปกครองและผูมีสวนไดสวนเสียนําไปใชใหเกิดประโยชนกับชุมชน สังคม แตการใชเครื่องมือ “การฝกอบรม” เพียงอยางเดียวอาจจะทําใหเกิดความสําเร็จไดอยางไมมีความตอเนื่องและยั่งยืน ดังนั้น สถาบันวิจัยและ พัฒนาการเรียนรูจึงไดพัฒนาอีกหนึ่งเครื่องมือที่สําคัญ คือ เครื่องมือการบริหาร เพื่อใหเกิดเปนวิถีโรงเรียนผาน ระบบตาง ๆ ตามผัง Macro Flow Chart ดังนี้

           จาก Macro Flow Chart ประกอบดวย 3 สวน คือ ระบบหลัก (อยูตรงกลาง) ระบบสนับสนุน (อยูด านซายและดานลาง) และผล (อยูดานขวา) โดยในระบบหลักและระบบสนับสนุนแตละระบบมีขอกําหนด (Requirement) ที่เปนแนวทางใหโรงเรียนกําหนดวิธีปฏิบัติ (Practices) เพื่อขับเคลื่อนสติใหเปนวิถีโรงเรียน และเกิดความยั่งยืนได้

           ข้อกําหนดของระบบหลัก คือ ขอกําหนดที่เมื่อดําเนินการแลวจะสงผลตอคุณภาพของกลุมเปาหมาย โดยตรง ประกอบดวยการใหบุคลากรครูมีสติในตนโดยการทําสมาธิกอนและหลังเลิกงาน ทํางานอยางมีสติโดย มีเครื่องชวยเตือนระหวางวัน มีสติในสัมพันธภาพ/ทีม โดยสื่อสารระหวางบุคคลอยางมีสติดวยกติกาสติสื่อสาร และประชุมทีมโดยใชสติในการประชุม (วง PLC) และมีสติในการขับเคลื่อนงานโรงเรียน โดยประชุมข้ามสาย งานและประชุมคณะกรรมการบริหารโดยใชสติในการประชุมแบบกัลยาณมิตรสนทนาและแบบอภิปรายอยาง สรางสรรค

           ข้อกําหนดของระบบสนับสนุน คือ ขอกําหนดที่มีบทบาทหนาที่ในการนําและบริหารจัดการเพื่อ ขับเคลื่อนระบบหลักใหเดินเครื่องไดสะดวก เริ่มจากการนํา โดยผูบริหารโรงเรียนประกาศใหการพัฒนาจิตเป็น ของโรงเรียนทําการสื่อสารเรื่องการพัฒนาจิตเปนคุณคาสําคัญของทุกคนในโรงเรียน ผลักดันและสนับสนุนให การพัฒนาจิตเกิดขึ้นจริงและยั่งยืนตอเนื่อง และผูบริหารเปนแบบอยางการพัฒนาจิตแกบุคลากร ระบบตอมา ไดแก แผนและการบริหารแผน มีขอกําหนด คือ จัดทําแผนกลยุทธการพัฒนาสติของ โรงเรียน ดําเนินการตามกลยุทธ และจัดทําแผนพัฒนาสติของหนวยงานยอยในโรงเรียน ระบบตอมา ไดแก การบริหารเพื่อพัฒนาสติ มีขอกําหนด คือ กําหนดทีมขามสายงานรับผิดชอบ การ บริหารจัดการสติ จัดสรรทรัพยากรในการดําเนินงาน และกําหนดใหสติเปนสมรรถนะหลักของบุคลากร ระบบตอมา ไดแก การพัฒนาบุคลากร มีขอกําหนด คือ สรางทีมวิทยากรพัฒนาสติใหบุคลากรสรางพี่ เลี้ยงขับเคลื่อนสติใหเปนวิถีในหนวยงานยอยของโรงเรียน อบรมบุคลากรทั้งโรงเรียนใหเกิดทักษะพื้นฐาน และ พัฒนานวัตกรรมการพัฒนาจิตในโรงเรียน ระบบสุดทาย ไดแก สารสนเทศและการจัดการความรู มีขอกําหนด คือ จัดเก็บ วัด และวิเคราะหข อมูลสารสนเทศในการพัฒนาจิตเพื่อใชประโยชนในโรงเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อพัฒนาสติทั้งในและ นอกโรงเรียน

           กล่าวโดยสรุปไดวาจากแนวคิดจิตวิทยาสติ (สติในตน สติในสัมพันธภาพ/ทีม และในการขับเคลื่อน งานโรงเรียน) ดังไดกลาวมาแลวนั้น มีขั้นตอนของการดําเนินงาน คือ เริ่มตนขั้นที่ 1 ดวยการประชุมเชิง ปฏิบัติการผูบริหาร 1 วัน เพื่อปรับกระบวนทัศนและสรางความเขาใจ ในแนวคิดจิตวิทยาสติกอน (เพิ่มเติมจาก ที่ผูบริหารมีตนทุนความสนใจและเขาใจอยูบางแลว) จากนั้นจึงเขาสูขั้นที่ 2 คือการอบรมเชิงปฏิบัติการ บุคลากรครูในโรงเรียนทุกคนทุกตําแหนง (อบรม 100%) โดยใชเวลา 2 วัน เพื่อใหครูเกิดการเรียนรูและนําไป ปฏิบัติจนเกิดผลกับตนเองทําใหเกิดพลังและความสุขในการทํางาน และการใชชีวิตประจําวันใชสติสื่อสาร ผสมผสานภาษาฉัน และสติคิดบวกในการสรางสัมพันธภาพกับเพื่อนครูดวยกัน กับนักเรียน และผูปกครอง ทํา ใหเกิดบรรยากาศการทํางานรวมกันอยางมิตรไมตรี เปนแรงผลักไปสูการใชสติในการประชุม PLC 2 แบบเพื่อ ขับเคลื่อนใหเกิดการเรียนรูงานดวยกัลยาณมิตรสนทนา (Dialogue) และแกปญหางานดวยการอภิปรายอยาง สรางสรรค (Creative Discussion) และขั้นที่ 3 ครูนําจิตวิทยาสติไปใชกับนักเรียนที่เปนการใช 2 มิติ คือการ ใชในมิติปจจัย (Input) ที่มีคุณลักษณะดี ๆ อยูในตัวครูเชน ความรัก เสียสละ เมตตา และใหอภัย เปนตน ซึ่ง เปนการเสริมสราง “จิตวิญญาณของความเปนครู” และใชในมิติกระบวนการ (Process) เชน ใชกติกาสติ สื่อสาร ใชภาษาฉัน ใชสติไตรตรอง และสติคิดบวกกับนักเรียน เปนตน ที่สําคัญที่สุดสําหรับครู คือ การใชสตินํา การ “ปฏิรูปการเรียนรู” เพื่อพัฒนานักเรียนใน 3 ระบบหลักที่เปนหัวใจของโรงเรียน คือ ระบบการเรียนรู ระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน และระบบกิจกรรมนักเรียน

           ข้อกําหนดของระบบหลักและระบบสนับสนุนทั้งหมด หากโรงเรียนดําเนินการไดดีก็จะทําใหเกิดผลที่ดี ทั้งผลลัพธโดยตรง (Outcome) และผลในเชิงผลกระทบ (Impact) ทั้งในระดับตน ทีม และโรงเรียน

           โดยสรุปเครื่องมือในการนําสติไปใชในรร.ประกอบดวยการนําจิตวิทยาสติจากครูไปสูนักเรียน โดยทํา ใหเปนวิถีโรงเรียน ครู พัฒนาสติในตนทั้งในชีวิตและงาน สติกับสัมพันธภาพและสติในการประชุมPLC กับนร. นําสติไปใชในการเรียนและใชชีวิตรวมทั้งสมาธิ/สติในการพัฒนาตนเพื่อจัดการกับอารมณ/ความเครียด และ สมาธิ/สติ ในการแกปญหาสุขภาพจิต

           ประสบการณของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู(มสวร.) ซึ่งเปนองคกรที่ไมแสวงหาผลประ โยชน (Non-Profit Organization) ไดดําเนินการพัฒนาคุณภาพและสรางความเขมแข็งแกโรงเรียนทั่วทุกภาค ของประเทศมาโดยตลอดตั้งแตป พ.ศ.2546 ดวยเครื่องมือตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการคุณภาพ เช น การจัดการคุณภาพเชิงระบบ (TopSTAR) การเทียบระดับ (Benchmarking) และการจัดการความรู (Knowledge Management) เปนตน เรื่อยมาจนถึงเครื่องมือเกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรูแบบ Active Learning และไดพัฒนาคุณภาพโรงเรียน โดยใชสติเปนฐาน (Mindfulness Based) มาตั้งแต พ.ศ.2558 จน ถึงปจจุบัน ซึ่งแบงตามชวงเวลาเปน 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 พ.ศ.2558-2561 มีโรงเรียนรวมดําเนินการในนาม โครงการสรางสุขดวยสติในองคกร (Mindfulness in Organization) จํานวน 4 โรงเรียน จากภาคใตและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ระยะที่ 2 พ.ศ.2562-2564 ไดปรับปรุงชื่อใหสอดคลองกับบริบทโรงเรียนในนามโครงการ สรางสุขดวยสติในโรงเรียน (Mindfulness in School) มีโรงเรียนจากทุกภาคของประเทศเขารวมโครงการ จํานวน 17 โรงเรียน ซึ่งในจํานวนนี้ไดพัฒนาใหเปนโรงเรียนตนแบบ ภาคละ 1 โรงเรียน รวม 4 โรงเรียน และ ระยะที่ 3 พ.ศ.2564 (ตุลาคม) จนถึงปจจุบัน มีโรงเรียนจากทุกภาคเขารวมโครงการ จํานวน 24 โรงเรียน ซึ่ง ในระยะที่ 3 นี้ดําเนินการโดยใชโรงเรียนตนแบบเปนแกนหลัก (Focal Point) ในการสรางความเขมแข็ง โดยใช สติเปนฐานใหกับโรงเรียนในฐานะโรงเรียนขยายผล โดยการปรับกระบวนทัศน ทีมบริหารอบรมบุคลากรครู 100% ดําเนินการขับเคลื่อนทั้ง 3 องคประกอบ (สติในตน สติในทีม และสติในโรงเรียน) มีการแลกเปลี่ยนเรียน รูเยี่ยมเสริมพลังโดยโรงเรียนตนแบบรวมกับพี่เลี้ยง ทําการเทียบระดับ (Benchmarking) และจัดประชุม วิชาการ (Online) ในระดับประเทศ ซึ่งจากการดําเนินการดังกลาวมีการพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงกับกลุ มเปาหมายจึงทําใหเกิดผลลัพธเชิงคุณภาพตามแนวคิดสําคัญของจิตวิทยาสติครอบคลุมทั้ง 3 องคประกอบ คือ ในระดับบุคคล (ตน) บุคลากรครูและผูบริหารมีความตระหนักรูในคุณคาของตนเอง ทํางานไดอยางมีพลังและ ความสุขจากการไดฝกสมาธิและสติ (Practice) จนทําไดอยางชํานาญ (State) เปนบุคลิกประจําตัว (Trait) ใน ระบบทีมบุคลากรครูมีทักษะในการใชสติสื่อสาร (Mindful Communication) โดยพูดและฟงอยางมีสติ (รูลม หายใจพูดและฟง) มีปฏิสัมพันธที่ดีตอกันดวยการใชภาษาฉัน (I Message) มีความคิดเชิงบวกตอเพื่อนรวมงาน และตอบริบทของงาน ทําใหบรรยากาศในการทํางานดี (Nice Atmosphere) และระดับองคกร บุคลากรครูได นําสติไปใชขับเคลื่อนงานของโรงเรียนดวยการใชสติในการประชุม PLC 2 แบบ คือ ใชกัลยาณมิตรสนทนา (Dialogue) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณดี ๆ ที่เกิดขึ้นในการทํางาน ความสําเร็จที่เปนเลิศของงาน (Best Practices) จนทําใหเกิดคลังความรู(Knowledge Assets) ของโรงเรียน และใชการอภิปรายอยางสราง สรรค (Creative Discussion) เพื่อแกปญหาในงานจนทําใหเกิดนวัตกรรมในการทํางานของโรงเรียน

           นอกจากนี้ในระยะที่ 3 นี้ มสวร.ยังไดเขาไปมีบทบาทในการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ 4 แหง (มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค และ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ) ในการนําสติไปใชในมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะคณะคุรุศาสตร และโรงเรียนสาธิต เพื่อใหสงผลตอการผลิตครู และพัฒนาโรงเรียนในการสรางสุขภาวะทางปญญาของนักเรียนโดยใชจิตวิทยาสติ เปนพื้นฐาน

           จากประสบการณและการดําเนินการสติในโรงเรียนมาอยางตอเนื่อง มสวร. จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนา โรงเรียนตนแบบสติใน 4 ภาคใหเปนศูนยการเรียนรูสติ (Mindfulness Learning Center) และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏที่มีศักยภาพในการพัฒนาโรงเรียนเครือขายในการฝกประสบการณวิชาชีพของนักศึกษา เพื่อขยายฐานการเรียนรูเกี่ยวกับสติในวงกวางตอไป

© Your Site Name. All Rights Reserved.

Designed by HTML Codex